agri

 

saithong ka

 

 ชื่อไทย  ผศ.ดร.สายทอง  แก้วฉาย       
 ชื่ออังกฤษ  Asst.Prof.Dr.Saithong    Kaewchai
 ตำแหน่งทางวิชาการ  ผู้ช่วยศาสตราจารย์
 ตำแหน่งทางบริหาร  ผู้ช่วยอธิการบดี 

 

ประวัติการศึกษา 

พ.ศ. วุฒิปริญญา (ย่อ) สาขา สถาบัน
2553 ปร.ด. เทคโนโลยีชีวภาพทางโรคพืช สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
2546 ปร.ม. เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
2536 ประกาศนียบัตรวิชาชีพครูชั้นสูง ประกาศนียบัตรวิชาชีพครูชั้นสูง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
2533 วท.ม. กีฏวิทยาและโรคพืช มหาวิทยาลัยขอนแก่น

 

ประวัติรับราชการ/ทำงาน

วัน/เดือน/ปี ตำแหน่ง ระดับ สังกัด
2536-2548 อาจารย์   - วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส
2548-ปัจจุบัน อาจารย์  - คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์

 

ดำรงตำแหน่งผู้บริหาร

วัน/เดือน/ปี ตำแหน่ง
พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน รองคณบดี ฝ่ายวิชาการ คณะเกษตรศาสตร์ 

 

 ตำแหน่งหน้าที่พิเศษอื่น ๆ
   1. หัวหน้างานทะเบียนและวัดผลประเมินผล (พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน

   2. หัวหน้างานหลักสูตรและการสอน (พ.ศ. 2554 – 2559)

   3. หัวหน้ากลุ่มวิชาพืชศาสตร์  (พ.ศ. 2555)

   4. ผู้ช่วยบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขาวิทยาศาสตร์และ
      เทคโนโลยี (พ.ศ. 2554 – ปัจจุบัน)

   5. อนุกรรมการวิชาการ วิทยาลัยชุมชนนราธิวาส ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกด้านหลักสูตรฯ
      (พ.ศ.2560)

   6. คณะกรรมการบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ (พ.ศ. 2560-ปัจจุบัน)

 

สาขาวิชาการที่มีความชำนาญพิเศษ
- สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา การป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี ราวิทยา การเพาะเห็ด

 

ผลงานวิจัย
1. การรวบรวมและอนุรักษ์ทุเรียนพันธุ์พื้นเมืองไทย
2. การศึกษาการเปลี่ยนสี สารสกัดหยาบจากใบไม้สีทองและการประยุกต์ใช้
3. ศึกษารูปแบบการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ในการป้องกันกำจัดโรครากขาวของยางพารา
4. ชนิดและความหลากหลายของเชื้อรา epiphyte และ endophyte ในใบข้าวพันธุ์พื้นเมืองของจังหวัดนราธิวาส และคุณสมบัติของการเป็นเชื้อราปฏิปักษ์กับโรคของข้าว
5. ชนิดและความหลากหลายของเชื้อรา Ascomycetes ในพื้นที่การปลูกยางพารา และคุณสมบัติของการเป็นเชื้อราปฏิปักษ์ในการป้องกันกำจัดโรครากขาวยางพารา
6. การประเมินผลการดำเนินงานเยียวยาและฟื้นฟูผู้ได้รับความเสียหายและผู้ได้รับผลกระทบ อันเนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
7. ผลสัมฤทธิ์ของโครงการพัฒนาชุมชนสันติสุขตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง (พนพ) ในจังหวัดชายแดนใต้ ภาคใต้
8. การศึกษารูปแบบการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ในการป้องกันกำจัดโรครากขาว

 

ผลงานทางวิชาการ (บทความวิชาการ/ตำรา)

        - จักรพงศ์ จิระแพทย์, สายทอง แก้วฉาย, ฮากีม นิกาเร็ง และอุสมาน เจ๊ะลาเตะ. 2565.ผลของสารสกัดหยาบจากใบทุเรียนเทศต่อการควบคุมเชื้อรา Colletotrichum sp. วารสารเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์.1(2): 1-11.        

        - Dhanushka N.W., Jeewon R., Gareth Jones E.B., Boonmee S., Kaewchai S., Manawasinghe S.I., Lumyong S., and Hyde K.D. 2018. Novel plamicilous taxa within Pleosporales: multigene phylogeny and taxonomic circumscription. Mycological Progress 17: 571-590.)        

        - สายทอง  แก้วฉาย และปัททมา มัยดิง.2558.การศึกษาปริมาณไตรโคเดอร์มารูปแบบผงในการควบคุมโรครากขาวของยางพารา.ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ครั้งที่ 4 เรื่องการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน 5 สิงหาคม สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส หน้า80-86.

        - สายทอง  แก้วฉาย.2557.สารสกัดมะรุมด้วยน้ำต่อการควบคุมเชื้อรา Colletotrichum spp. สาเหตุโรคแอนแทรกโนสของพริกในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3เรื่องการบูรณาการงานวิจัยเพื่อสร้างสังคมอุดมปัญญาภายใต้พหุวัฒนธรรมสู่สังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน  14 สิงหาคม อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศคูเวต มหาวิทยาลัยฟาฏอนี จังหวัดปัตตานี หน้า 501-508.

        - สายทอง  แก้วฉาย.2557. การศึกษาเชื้อราเอนโดไฟท์จากใบข้าวหอมกระดังงาและคุณสมบัติการเป็นเชื้อราปฏิปักษ์. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 6(3): 1121-120.

        - สายทอง  แก้วฉาย.2556. โรครากขาวของยางพาราและการป้องกันกำจัด. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 5(2): 118-131.

        - สายทอง  แก้วฉาย.2555. การใช้ไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืช. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 4(3): 108-123.

        - สายทอง  แก้วฉายและฮูดา สะมะแอ. 2555. ผลของสารสกัดจากมะรุมด้วยน้ำในการควบคุมการเจริญเติบโตของ Colletotrichumspp. สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของกล้วยไม้. หน้า 124-127 ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ครั้งที่ 1 เรื่องการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 7-8 สิงหาคม โรงแรมอิมพีเรียลนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

        - สายทอง  แก้วฉาย,อรุณี  ยูโซ๊ะ และทวี  บุญภิรมย์ .2555. การศึกษาสูตรอาหาร MS ดีดแปลงที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อข้าวหอมกระดังงา. หน้า 61-64 ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ครั้งที่ 1 เรื่องการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 7-8 สิงหาคม โรงแรมอิมพีเรียลนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

        - Kaewchai, S. 2012. Problem with Technical Term Learning of Plant Pathology,p. 219-220. In Proceeding of Life Long Learning International Conference on Past Experiences, Current Practices & Future Possibilities. 19-20 November, The Sokosol, Bangkok, Thailand.

        - Kaewchai, S.and Soytong, K. (2010). Application of biofungicides against Rigidoporus microporus causing white root disease of rubber trees. The Journal of Agricultural Technology 6(2): 349-363.

        - Kaewchai, S., Lin, F.C., Wang, H.K. and Soytong, K. (2010). Characterization of Rigidoporus microporus isolated from rubber trees based on morphology and ITS sequencing. The Journal of Agricultural Technology 6(2): 289-298.

        - Kaewchai, S., Soytong, K. and Hyde, K.D. (2009). Mycofungicides and fungal biofertilizers. Fungal Diversity 38: 25-50.

        - Kaewchai, S., Lin, F.C., Wang, H.K., Hyde, K.D. and Soytong, K. 2009. Genetic variation among isolates of Rigidoporus microporus causing white root disease of rubber trees in Southern Thailand revealed by ISSR markers and pathogenicity. African Journal of Microbiology Research Vol. 3(10): 641-648.      

  

ผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัล
1. การนำเสนอผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์ดีเด่น เรื่อง สารสกัดมะรุมด้วยน้ำต่อการควบคุมเชื้อรา Colletotrichum spp. สาเหตุโรคแอนแทรกโนสของพริกในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 3เรื่องการบูรณาการงานวิจัยเพื่อสร้างสังคมอุดมปัญญาภายใต้พหุวัฒนธรรมสู่สังคมสันติสุขและประชาคมอาเซียน  14 สิงหาคม อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศคูเวต มหาวิทยาลัยฟาฏอนี จังหวัดปัตตานี 
2. ปรึกษางานวิจัย เรื่อง รูปแบบของสารสกัดจากไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืช รางวัลเหรียญเงิน ในการแข่งขัน NRIC 2558 USM ประเทศมาเลเซีย

 

ทุนวิจัยที่ได้รับ

 1. การรวบรวมและอนุรักษ์ทุเรียนพื้นบ้านไทย ได้รับทุนสนับสนุน จากสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) (BIODIVERSITY-BASED ECONOMY DEVELOPMENT OFFICE (BEDO)) ปี 2560
 2. ชนิดและความหลากหลายของเชื้อราในดินป่าพรุสิรินทร และคณุณสมบัติในการเป็นเชื้อราปฏิปักษ์ในการป้องกันกำจัดโรคพืช ได้รับทุนสนับสนุน จาก สำนักงาน กปร. ปี 2558-2559
 3. การศึกษาการเปลี่ยนสี สารสกัดหยาบจากใบไม้สีทองและการประยุกต์ใช้ยางพารา ผู้วิจัย เจษฎา  แก้วฉาย  สายทอง  แก้วฉาย ทัศนีย์ รัดไว้ และบัญชา รัตนีทู ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปี 2557
 4. การศึกษารูปแบบการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ในการป้องกันกำจัดโรครากขาวยางพารา ผู้วิจัย สายทอง  แก้วฉาย และเจษฎา  แก้วฉาย  ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปี 2556
 5. ผลสัมฤทธิ์ของโครงการพัฒนาชุมชนสันติสุขตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง (พนพ) ในจังหวัดชายแดนใต้ ภาคใต้ ผู้วิจัย  คล่อง วงศ์สุขมนตรี เกศแก้ว  ประดิษฐ์ พัชรี  ตูเล๊ะ และสายทอง แก้วฉาย ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานวิจัยแห่งชาติ ปี 2555
 6. การประเมินผลการดำเนินงานเยียวยาและฟื้นฟูผู้ได้รับความเสียหายและผู้ได้รับผลกระทบ อันเนื่องจากเหตุการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้วิจัย  รสสุคนธ์ แสงมณี จงรัก พลาศัย คล่อง วงศ์สุขมนตรี และสายทอง แก้วฉาย ได้รับทุนสนับสนุนจากศูนย์ศูนย์อำนายการบริหารจังหวัดชายแดนใต้ (ศอ.บต.) ปี 2555
 7. ชนิดและความหลากหลายของเชื้อรา Ascomycetes ในพื้นที่การปลูกยางพารา และคุณสมบัติของการเป็นเชื้อราปฏิปักษ์ในการป้องกันกำจัดโรครากขาวยางพาราได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานวิจัยแห่งชาติ ปี 2555
 8. ชนิดและความหลากหลายของเชื้อรา epiphyte และ endophyte ในใบข้าวพันธุ์พื้นเมืองของจังหวัดนราธิวาส และคุณสมบัติของการเป็นเชื้อราปฏิปักษ์กับโรคของข้าวได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานวิจัยแห่งชาติ ปี 2555

 

การศึกษาดูงาน

 1. อบรม Agro Processing & Food Engineering ปักกิ่ง ประเทศจีน 11-30 ตุลาคม 2561
 2. อบรม New Technologies of Agricultural Engineering & AgroProcessing ปักกิ่ง ประเทศจีน 6-25 เมษายน 2560
 3. อบรม Renewable Energy and Energy Efficiency นิวเดลลี อินเดีย 4-26 กุมภาพันธ์ 2560
 4. อบรมภาษาอังกฤษ (English camp) UUM, มาเลเซีย 20 เมษายน–18 พฤษภาคม 2556
 5. ศึกษาดูงานวารสาร ที่ปักกิ่ง ประเทศจีน 13-18 ธันวาคม 2555
 6. ศึกษาดูงานเกี่ยวกับการเกษตร ที่ มาเลเซีย สิงคโปร์ เมษายน 2553
 7 .Workshop on Fungal Phylogenetic Analysis: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย พฤศจิกายน 2551
 8. Workshop on Myxomycetes, The Mushroom research Centre, เชียงใหม่ มกราคม 2551
 9. Review Literature Training, มหาวิทยาลัยฮ่องกง ฮ่องกง พฤศจิกายน2550
 10.Disease Management and Good Agricultural Practice, ซอนลา ฮานอย,เวียดนาม กุมภาพันธ์ 2550

  

หน่วยงานและสถานที่ติดต่อ
 
99 คณะเกษตรศาสตร์  มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์  
ตำบลโคกเคียน อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส 96000    
โทรศัพท์ : 088-788-4457   
E-mail :  This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. ,  This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
 
Close